เมื่อความเหลื่อมล้ำไม่ได้มีแค่เรื่องเศรษฐกิจ

 

องค์การสหประชาชาติประจำประเทศไทย (UN Thailand) ได้เผยแพร่ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” (Sustainable Development Goals – SDGs) ที่ประชาคมโลกตกลงร่วมกันที่จะใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานด้านการพัฒนา โดยเป้าหมายทั้ง 17 ข้อ

เป้าหมาย 1 ใน 17 ข้อคือ การลดความเหลื่อมล้ำทั้งภายในและระหว่างประเทศ

ประเทศไทย และอีก 193 ประเทศ ตกลงร่วมกันที่จะใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานด้านการพัฒน

แม้ว่า ‘อารมณ์และความรู้สึก’ ของสังคมจะสัมผัสถึง ‘ความเหลื่อมล้ำ’ ในระดับที่สวนทางกับ ‘เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน’

ความเหลื่อมล้ำไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของสถิติตัวเลขหรือสภาพไร้ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ แต่เป็นเรื่องของประสบการณ์ พลังของอารมณ์ และความตระหนักรู้

ข้อสังเกตของ ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร ที่สะท้อนผ่านบทความ ‘ภาพรวมความเหลื่อมล้ำกับความขัดแย้ง’ สอดคล้องกับบทสรุปจากการประชุม World Social Science Report 2016 ที่ขยายความหมายของความเหลื่อมล้ำให้กว้างไกลไปกว่ามิติทางเศรษฐกิจตามความเข้าใจเดิม

แต่หากพิจารณาให้รอบด้าน ประเด็นความเหลื่อมล้ำครอบคลุมปริมณฑลที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตผู้คนถึง 7 มิติ

 

1. ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ

 

 

 

 

 

2. ความเหลื่อมล้ำทางสังคม

 

 

3. ความเหลื่อมล้ำด้านวัฒนธรรม

 

 

 

4. ความเหลื่อมล้ำด้านการเมือง

 

 

5. ความเหลื่อมล้ำทางสิ่งแวดล้อม

 

 

6. ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่

 

 

7. ความเหลื่อมล้ำทางความรู้

 

 

Author

กองบรรณาธิการ
ทีมงานหลากวัยหลายรุ่น แต่ร่วมโต๊ะความคิด แลกเปลี่ยนบทสนทนา แชร์ความคิด นวดให้แน่น คนให้เข้ม เขย่าให้ตกผลึก ผลิตเนื้อหาออกมาในนามกองบรรณาธิการ WAY

Author

ณขวัญ ศรีอรุโณทัย
อาร์ตไดเร็คเตอร์ผู้หนึ่ง ชอบอ่าน เขียน และเวียนกันเปิดเพลงฟัง

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ โดยการเข้าใช้งานเว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้เราใช้คุกกี้ตาม นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • Always Active

บันทึกการตั้งค่า