จุดยืน ส.ว. สายกฎหมายและรัฐศาสตร์ กับหลักการโหวตนายกฯ

หากกฎหมายมีเพื่อรับใช้ประชาชน แล้ว ส.ว. ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ปฏิบัติตามฉันทามติของประชาชนแล้วหรือยัง?

WAY ชวนมองผลโหวตการเลือกนายกฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ของ ส.ว. 29 คน ในแวดวงนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ เพื่อสะท้อนหลักคิดในการพิจารณาและตีความ 14 ล้านเสียงของประชาชน ซึ่งเป็นที่น่าจับตาว่า ส.ว. เหล่านี้จะยืนยันในหลักการอย่างไรต่อไปในการโหวตนายกรัฐมนตรี วันที่ 19 กรกฎาคมนี้ 

กลุ่มโหวต ‘เห็นชอบ’

  • เคารพฉันทามติของประชาชน 
  • ทำตามแนวปฏิบัติของรัฐสภา โหวตให้พรรคที่รวบรวมเสียงข้างมากได้ 
  • คำนึงถึงเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญในบทเฉพาะกาลที่ให้อำนาจ ส.ว. เลือกนายกฯ 

กลุ่มโหวต ‘ไม่เห็นชอบ’

  • คุณสมบัติของผู้ถูกเสนอชื่อเป็นนายกฯ อาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ
  • หากลงมติเห็นชอบถือว่าผิดฎหมาย เนื่องจากพิธามีลักษณะเป็นบุคคลต้องห้าม
  • เล็งเห็นว่าพิธามีจุดยืนที่เป็นปฏิปักษ์กับระบอบการปกครอง โดยเฉพาะการเสนอแก้ ม.112

กลุ่ม ‘งดออกเสียง’

  • เพื่อความเป็นกลางทางการเมือง
  • มองว่าพิธาขาดคุณสมบัติ
  • ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไข ม.112

*อนึ่ง ตามหลักกฎหมายในการนับคะแนนเสียงข้างมาก เมื่อมีการ ‘งดออกเสียง’ ก็เท่ากับไม่สนับสนุนให้พิธาเป็นนายกรัฐมนตรี เช่นเดียวกับการโหวต ‘ไม่เห็นชอบ’

กลุ่ม ‘ยังไม่ลงมติ’

  • ขาดประชุม

Author

กนกวรรณ เชียงตันติ์
ผู้ถูกเลือกให้ปวดหลัง

ฟิซซา อวัน
ฟูลไทม์นิสิต พาร์ทไทม์บาริสต้า พกหนังสือไว้ข้างกายเสริมสร้างความเท่ในยุคดิจิทัล

Author

ศศิพร คุ้มเมือง
วัยรุ่นกระดูกกร๊อบแกร๊บ ชอบเขียน ชอบอ่าน ชอบกินหมูกระทะ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ โดยการเข้าใช้งานเว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้เราใช้คุกกี้ตาม นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • Always Active

บันทึกการตั้งค่า